การสื่อสาร
(Communication) นพ.ธนู
ชาติธนานนท์
(กรกฎาคม 2552)
ความหมาย : การสื่อสาร (communication) คือกระบวนการในการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคมหรือในกลุ่ม เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาระหว่างผู้เกี่ยวข้อง โดยตั้งใจ (รู้ตัว) และไม่ตั้งใจ(ไม่รู้ตัว) และโดยที่แต่ละบุคคลที่เกี่ยวข้องจะเป็นทั้งผู้ส่งสารและรับสารไปด้วยกัน และในเวลาเดียวกัน ในลักษณะการสื่อสารแบบสองทาง (two-way Communication) เช่น ครูในฐานะผู้ส่งสารพูดกับนักเรียนเป็นรายบุคคล หรือกับทั้งห้อง เป็นการสื่อสารความคิดของครูแก่นักเรียน ขณะเดียวกันครูก็เป็นผู้รับสารที่นักเรียนส่งกลับมาในรูปของสีหน้า แววตา ท่าทาง หรือคำพูด ที่สะท้อนถึงความคิดและความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อครู ผู้สื่อสารที่ดีจึงต้องเป็นทั้งผู้ส่งสารที่ดี และผู้รับสารที่ดีในเวลาเดียวกัน
ความหมาย : การสื่อสาร (communication) คือกระบวนการในการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคมหรือในกลุ่ม เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาระหว่างผู้เกี่ยวข้อง โดยตั้งใจ (รู้ตัว) และไม่ตั้งใจ(ไม่รู้ตัว) และโดยที่แต่ละบุคคลที่เกี่ยวข้องจะเป็นทั้งผู้ส่งสารและรับสารไปด้วยกัน และในเวลาเดียวกัน ในลักษณะการสื่อสารแบบสองทาง (two-way Communication) เช่น ครูในฐานะผู้ส่งสารพูดกับนักเรียนเป็นรายบุคคล หรือกับทั้งห้อง เป็นการสื่อสารความคิดของครูแก่นักเรียน ขณะเดียวกันครูก็เป็นผู้รับสารที่นักเรียนส่งกลับมาในรูปของสีหน้า แววตา ท่าทาง หรือคำพูด ที่สะท้อนถึงความคิดและความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อครู ผู้สื่อสารที่ดีจึงต้องเป็นทั้งผู้ส่งสารที่ดี และผู้รับสารที่ดีในเวลาเดียวกัน
ทักษะในการสื่อสารที่ดี
1. attending คือ การตั้งใจ ให้ความสำคัญต่อการส่งและรับสื่อ เช่น การพูดอย่างตั้งใจ การแสดงความสนใจ การสบตา การแสดงท่าที่กระตือรือร้น สนใจ เช่น การขยับตัวเข้าไปใกล้ การผงกศรีษะ แสดงความเข้าใจ เป็นต้น
2. Paraphasing คือ การพูดทวนการสะท้อนคำพูด เป็นการแสดงความสนใจและความต้องการที่จะรู้เพิ่มเติม
3. Reflection of feeling คือ การสะท้อนอารมณ์ที่อีกฝ่ายแสดงออกมา กลับไปให้ผู้นั้นเข้าใจอารมณ์ของตนเองมากขึ้น
4. Summarizing คือ การสรุปความ ประเด็นที่สำคัญเป็นระยะ เพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน
5. Probing คือ การซักเพิ่มเติมประเด็นที่สนใจ เพื่อหาความชัดเจนเพิ่มขึ้น
6. Self disclosure คือ การแสดงท่าทีเปิดเผยเป็นมิตรของผู้ส่งสารโดยการแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึกของตน ที่ไม่ใช่การขัดแย้ง หรือตำหนิ
7. Interpretation คือ การอธิบายแปรความหมายในประสบการณ์ที่อีกฝ่ายแสดงออกเพื่อให้เกิดความเข้าใจ รู้ในสิ่งที่มีอยู่
นั้นมากขึ้น
8. Confrontation คือการนำประเด็นที่ผู้ส่งสารพูดหรือแสดงออกด้วยท่าทาง ที่เกิดจากความขัดแย้ง สับสน ภายในของผู้ส่งสารเองกลับมา ให้ผู้ส่งสารได้เผชิญกับความขัดแย้ง สับสนที่มีอยู่ในตนเอง เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจในตนเองเพิ่มขึ้น
1. attending คือ การตั้งใจ ให้ความสำคัญต่อการส่งและรับสื่อ เช่น การพูดอย่างตั้งใจ การแสดงความสนใจ การสบตา การแสดงท่าที่กระตือรือร้น สนใจ เช่น การขยับตัวเข้าไปใกล้ การผงกศรีษะ แสดงความเข้าใจ เป็นต้น
2. Paraphasing คือ การพูดทวนการสะท้อนคำพูด เป็นการแสดงความสนใจและความต้องการที่จะรู้เพิ่มเติม
3. Reflection of feeling คือ การสะท้อนอารมณ์ที่อีกฝ่ายแสดงออกมา กลับไปให้ผู้นั้นเข้าใจอารมณ์ของตนเองมากขึ้น
4. Summarizing คือ การสรุปความ ประเด็นที่สำคัญเป็นระยะ เพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน
5. Probing คือ การซักเพิ่มเติมประเด็นที่สนใจ เพื่อหาความชัดเจนเพิ่มขึ้น
6. Self disclosure คือ การแสดงท่าทีเปิดเผยเป็นมิตรของผู้ส่งสารโดยการแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึกของตน ที่ไม่ใช่การขัดแย้ง หรือตำหนิ
7. Interpretation คือ การอธิบายแปรความหมายในประสบการณ์ที่อีกฝ่ายแสดงออกเพื่อให้เกิดความเข้าใจ รู้ในสิ่งที่มีอยู่
นั้นมากขึ้น
8. Confrontation คือการนำประเด็นที่ผู้ส่งสารพูดหรือแสดงออกด้วยท่าทาง ที่เกิดจากความขัดแย้ง สับสน ภายในของผู้ส่งสารเองกลับมา ให้ผู้ส่งสารได้เผชิญกับความขัดแย้ง สับสนที่มีอยู่ในตนเอง เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจในตนเองเพิ่มขึ้น
ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนต้องใช้ทักษะการสื่อสารหลายทักษะร่วมกัน เพื่อจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ และนอกเหนือจากการสอนแล้ว
ครูต้องทำงานด้านอื่นๆ ในสถานศึกษาด้วย จะเห็นได้ว่าการทำงานของครู จะต้องอาศัย
ทักษะการสื่อสาร ซึ่งประกอบด้วย "การฟัง การอ่าน การพูด และการเขียน"
ทักษะการสื่อสาร ซึ่งประกอบด้วย "การฟัง การอ่าน การพูด และการเขียน"
- เก็บและรวบรวมข้อมูล
- แลกเปลี่ยนข้อมูล
- รับฟีดแบค
- ให้เข้าใจเรื่องราว
- เรียนรู้เรื่องราว
- สร้างสายสัมพันธ์
- ได้ทราบมุมมองที่แตกต่าง
- เพื่อให้การช่วยเหลือ
- ขจัดข้อขัดแย้ง
- สร้างความไว้วางใจ
2. ทักษะการอ่าน (Reading Skills) ครูจะใช้เพื่อ- แสวงหาความรู้ ค้นหาคำตอบ
- ตรวจสอบงานของนักเรียน
- ทำความเข้าใจเนื้อหา
- เพิ่มเติมองค์ความรู้
- รับรู้วิทยาการก้าวหน้า
- กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์
- ให้เห็นหลากหลายมุมมอง
- เกาะติดกระแส ทันสมัยต่อเหตุการณ์
- ฝึกทักษะการคิด
3. ทักษะการพูด (Speaking Skills) ครูจะใช้เมื่อ
- ให้/ถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนข้อมูล
- อธิบายสร้างความกระจ่าง
- สร้างบรรยากาศ
- สร้างสายสัมพันธ์
- ให้ฟีดแบค
- ให้กำลังใจ
- ถามกระตุ้น
- นำเสนอมุมมองแตกต่าง
- โน้มน้าว
4. ทักษะการเขียน (Writing Skills) ครูจะใช้เมื่อ
- สร้างความเข้าใจและความน่าสนใจ
- สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เช่น แนวคิดหลักการ องค์ความรู้ หนังสือ
- ถ่ายทอดเรื่องราว
- บันทึกเรื่องราว
- เล่าเรื่อง อธิบาย
- แสดงความคิดเห็น
- แนะนำให้คำปรึกษา
"การสื่อสารในการเรียนการสอน"
1. กระบวนการสื่อสารในการเรียนการสอน ประกอบด้วย..
ครู, เนื้อหาบทเรียนหรือกิจกรรมต่างๆ, ช่องทางสื่อสาร, ผู้เรียน, สิ่งรบกวน
2. ลักษณะการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน เป็นการสื่อสารเพื่อให้เกิด
ความรู้ กล่าวคือ.. เป็นการถ่ายทอดความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์
ตลอดจนการอบรมสั่งสอน อาจเป็นการสื่อสารแบบทางเดียวหรือสองทาง
ควรมีการเน้นหรือทบทวนคำสั่งหรือข้อตกลง เพื่อให้เกิดความจำ
และความเข้าใจที่ถูกต้อง การสื่อสารควรมีลักษณะสร้างแรงบันดาลใจ
เป็นกันเอง แสดงถึงความเอื้ออาทร และมีเจตคติที่ดีต่อกัน
3. การปรับใช้การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
ครูที่มีการสื่อสารที่ดีจะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมาย มีชีวิต
ชีวา มีเจตคติที่ดีต่อผู้สอนและบทเรียน เรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ ครูผู้สอนควร
ใช้สื่อการสอนสองทางให้มากที่สุด เพื่อประเมินว่าการถ่ายทอดเนื้อหา
สาระไปสู่ผู้เรียนได้ผลอย่างไร ครูและผู้เรียนสามารถปรับกระบวนการ
สื่อสารให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
1. กระบวนการสื่อสารในการเรียนการสอน ประกอบด้วย..
ครู, เนื้อหาบทเรียนหรือกิจกรรมต่างๆ, ช่องทางสื่อสาร, ผู้เรียน, สิ่งรบกวน
2. ลักษณะการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน เป็นการสื่อสารเพื่อให้เกิด
ความรู้ กล่าวคือ.. เป็นการถ่ายทอดความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์
ตลอดจนการอบรมสั่งสอน อาจเป็นการสื่อสารแบบทางเดียวหรือสองทาง
ควรมีการเน้นหรือทบทวนคำสั่งหรือข้อตกลง เพื่อให้เกิดความจำ
และความเข้าใจที่ถูกต้อง การสื่อสารควรมีลักษณะสร้างแรงบันดาลใจ
เป็นกันเอง แสดงถึงความเอื้ออาทร และมีเจตคติที่ดีต่อกัน
3. การปรับใช้การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
ครูที่มีการสื่อสารที่ดีจะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมาย มีชีวิต
ชีวา มีเจตคติที่ดีต่อผู้สอนและบทเรียน เรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ ครูผู้สอนควร
ใช้สื่อการสอนสองทางให้มากที่สุด เพื่อประเมินว่าการถ่ายทอดเนื้อหา
สาระไปสู่ผู้เรียนได้ผลอย่างไร ครูและผู้เรียนสามารถปรับกระบวนการ
สื่อสารให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ตัวอย่างการสื่อสารในการเรียนการสอนที่ครูใช้
คลิปวีดิโอต่อไปนี้เป็นการนำเสนอรูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ ที่ใช้สื่อสารกับผู้เรียน
คลิปวีดิโอต่อไปนี้เป็นการนำเสนอรูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ ที่ใช้สื่อสารกับผู้เรียน
ตัวอย่างการสื่อสารในการเรียนการสอนที่ครูใช้
ตัวอย่าง
ความล้มเหลวในการสื่อสารของครู
- ครูไม่บอกจุดประสงค์ในการเรียนการสอนให้ผู้เรียนทราบก่อนลงมือสอน
ทำให้ผู้เรียนขาดทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจนในการเรียนรู้เนื้อหาบทเรียน
- ครูไม่คำนึงถึงข้อจำกัดหรือขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน จึงใช้วิธี
สอนแบบเดียวกัน ทำให้ผู้เรียนบางคนเรียนรู้ไม่ทันเพื่อน
- ครูไม่สนใจที่จะจัดบรรยากาศการเรียนการสอน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมี
ความหมายสำหรับผู้เรียน ไม่สร้างความพร้อมให้กับผู้เรียน
- ครูไม่หาวิธีป้องกันและขจัดปัญหาสิ่งรบกวนต่างๆ
- ครูบางคนอาจใช้ภาษาไม่เหมาะกับระดับหรือวัยของผู้เรียน
ที่มาของข้อมูล >>http://goo.gl/UeuZhE>>http://goo.gl/DWHqju
Mindmap
- ครูไม่บอกจุดประสงค์ในการเรียนการสอนให้ผู้เรียนทราบก่อนลงมือสอน
ทำให้ผู้เรียนขาดทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจนในการเรียนรู้เนื้อหาบทเรียน
- ครูไม่คำนึงถึงข้อจำกัดหรือขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน จึงใช้วิธี
สอนแบบเดียวกัน ทำให้ผู้เรียนบางคนเรียนรู้ไม่ทันเพื่อน
- ครูไม่สนใจที่จะจัดบรรยากาศการเรียนการสอน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมี
ความหมายสำหรับผู้เรียน ไม่สร้างความพร้อมให้กับผู้เรียน
- ครูไม่หาวิธีป้องกันและขจัดปัญหาสิ่งรบกวนต่างๆ
- ครูบางคนอาจใช้ภาษาไม่เหมาะกับระดับหรือวัยของผู้เรียน
ที่มาของข้อมูล >>http://goo.gl/UeuZhE>>http://goo.gl/DWHqju
Mindmap
Bet on Sports in Harrah's Cherokee - MapYRO
ตอบลบUse 서산 출장샵 the 안양 출장샵 map 거제 출장샵 to explore the Harrah's Cherokee Casino in 시흥 출장샵 Cherokee and get a driving directions to Harrah's Cherokee Hotel 제주도 출장샵 and Casino.